Faculty of Public Administration

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2561(มคอ.2)

หลักสูตร
ตารางเรียน
1.  ชื่อหลักสูตร รหัสลัหสูตร :     25521831108112      
ภาษาไทย   :         รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์     
ภาษาอังกฤษ          :         Master of  Public Administration Program in Public Administration
  2.  ชื่อปริญญาและสาขาวิชา      ภาษาไทย   :         รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)   :    รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)   ภาษาอังกฤษ   :     Master of Public Administration (Public Administration)  :    M.P.A. (Public Administration) 
3.  วิชาเอก
      :         ไม่มี ฃ

4.  จำนวนหน่วยกิตตามแผนการศึกษาตลอดหลักสูตร 
4.1 แผน ก แบบ ก 2     ไม่น้อยกว่า       36       หน่วยกิต 
4.2 แผน ข                           ไม่น้อยกว่า       36       หน่วยกิต 
5.  รูปแบบของหลักสูตร     
5.1  รูปแบบ þ  หลักสูตรปริญญาโท o  อื่น ๆ ระบุ     
 5.2  ภาษาที่ใช้ þ  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย o  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา) .................... o  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา) ....................      
5.3  การรับเข้าศึกษา þ  รับเฉพาะนักศึกษาไทย o  รับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ o  รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ      
5.4  ความร่วมมือกับสถาบันอื่น þ  เป็นหลักสูตรของมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ o  เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น Þ  ชื่อสถาบัน…………………………………………………………………………….. Þ  รูปแบบของความร่วมมือสนับสนุน…………………………………………… o  เป็นหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่น Þ  ชื่อสถาบัน……………………ประเทศ.........…………………………….. Þ  รูปแบบของการร่วม           o  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯ เป็นผู้ให้ปริญญา                     o  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯ อื่น เป็นผู้ให้ปริญญา           o  ร่วมมือกัน โดยผู้ศึกษาอาจได้รับปริญญาจาก 2 สถาบันหรือมากกว่า     
 5.5  การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา            กรณีหลักสูตรเฉพาะของสถาบัน þ  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว o  ให้ปริญญามากกว่าหนึ่งสาขาวิชา            กรณีหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่น o  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว และเป็นปริญญาของแต่ละสถาบัน o  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว และเป็นปริญญาร่วมกับ.............................................. o  ให้ปริญญามากกว่าหนึ่งสาขาวิชา 

6.  สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร           þ  หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2561 ปรับปรุงจากหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556)           þได้ผ่านการกลั่นกรองหลักสูตรโดยคณะกรรมการการบริหารคณะรัฐประศาสนศาสตร์ ในการประชุมครั้งที่ 4 ปีการศึกษา 2560 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2560           þ  ได้รับการวิพากษ์หลักสูตรโดยคณะกรรมการที่มีผู้ทรงวุฒิตรงสาขาวิชาจากภายนอกในการประชุม เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2560           þ  ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาประจำมหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2560 เมื่อวันที่ 11ตุลาคม พ.ศ.2560           þ  ได้รับอนุมัติหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561 จากสภามหาวิทยาลัยพิษณุโลก ในการประชุมครั้งที่ 4ปีการศึกษา  2560 เมื่อวันที่ 15กุมภาพันธ์พ.ศ.2561           þ  เปิดสอนภาคการศึกษา 1 ปีการศึกษา 2561

  7.  ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน      หลักสูตรได้รับการเผยแพร่เป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ.2558 ในปีการศึกษา 2563
  

8.  อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา       
8.1  อาจารย์ผู้สอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์       
8.2  วิชาชีพที่ใช้ความรู้รัฐประศาสนศาสตร์ในการพัฒนางาน เช่น ข้าราชการตำรวจ ทหาร เป็นต้น       
8.3  นักการเมืองท้องถิ่นและส่วนราชการ      
 8.4  เจ้าหน้าที่ปกครองส่วนท้องถิ่น 

10.  สถานที่จัดการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยพิษณุโลก เลขที่ 93 หมู่ 5 ตำบลสมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 

11.  สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร      

11.1  สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ               การวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรได้ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) ซึ่งกล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์ ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี รวมทั้งการขยายตัวของประชาคมอาเซียน ส่งผลต่อรูปแบบการดำเนินชีวิตในสังคมของประชาชาติ จึงจำเป็นต้องมีนักปกครองที่มีประสิทธิภาพมีนักกฎหมายที่มีศักยภาพและคุณภาพที่จะให้การช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุนให้เศรษฐกิจการเมืองการปกครอง และประเทศชาติบ้านเมืองเป็นพลวัต มีการขับเคลื่อนสู่ความเป็นสากลเป็นที่ยอมรับของอาณาประเทศ จึงจำเป็นต้องจัดหาหลักสูตรการศึกษาให้สอดรับกับความต้องการบุคลากรของประเทศและทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างของสังคม การเมือง และการปกครอง 
11.2  สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม                การวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมในยุคโลกาภิวัฒน์และความต้องการของตลาดแรงงานเป็นสำคัญ รวมทั้งการคำนึงถึงขีดความสามารถในการบริหารจัดการระบบการศึกษาของไทยที่มีนโยบายด้านการมีส่วนร่วมต่อสังคมและวัฒนธรรมในรูปแบบของการรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเภทก็ได้มีการให้ความสำคัญและในประเทศไทยก็มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องต่อความต้องการใช้งานบุคลากรที่มีความรู้สมัยใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งจะนำไปสู่สังคมที่มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทำให้เกิดความเข้มแข็งและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ทั้งนี้จำเป็นจะต้องใช้นักการปกครองที่ดี สามารถตระหนักรับรู้ถึงความรับผิดชอบต่อสังคม และการสร้างวัฒนธรรมองค์การที่มีคุณธรรมจริยธรรมที่จะช่วยชี้นำและขับเคลื่อนให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปในรูปแบบที่สอดคล้องและเหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย ทั้งในด้าน วิถีชีวิตทางการศึกษาและวิถีความคิดแบบสังคมไทยที่สามารถอยู่ร่วมกับนานาอารยประเทศได้ 

12.  ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 

12.1  การพัฒนาหลักสูตร               เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และมีการรวมกลุ่มประเทศ
เพื่อการสร้างประชาคมความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง ทั้งในระดับภูมิภาค ทวีป และโลก จึงมีความสำคัญและจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัยเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและตอบสนองความต้องการศึกษาของคนภายในประเทศและประชาคมต่างประเทศตามช่วงเวลาที่เหมาะสม    

12.2  ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน               มหาวิทยาลัยพิษณุโลกมีพันธกิจที่สำคัญคือการผลิตบัณฑิต และพัฒนาบุคลากรในท้องถิ่น
ให้มีความรู้และสมรรถนะตามวัตถุประสงค์ความต้องการของสังคมและผู้ใช้บัณฑิต โดยเฉพาะบัณฑิตและบุคลากรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ที่จะนำความรู้ความสามารถของสาขาวิชาไปใช้ในการบริหารจัดการชุมชนท้องถิ่นและองค์กรต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดความเข้มแข็งเติบโตอย่างยั่งยืน 

13.  ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน         
(1)  ทุกรายวิชาในหลักสูตรหมวดวิชาเฉพาะรัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีคณะ/ภาควิชาอื่นนำไปกไหนดในหลักสูตรของคณะ/ภาควิชา         
(2)  มีบางรายวิชาจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ และจากคณะบัญชี ที่หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตนำมาเป็นวิชาเลือก         
(3)  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตจำเป็นต้องใช้อาจารย์จากหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต และหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรมาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ (IS) 

1.  ชื่อหลักสูตร รหัสลัหสูตร :     25521831108112      ภาษาไทย   :         รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์      ภาษาอังกฤษ          :         Master of  Public Administration Program in Public Administration

  2.  ชื่อปริญญาและสาขาวิชา      ภาษาไทย   :         รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)                     :         รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์)      ภาษาอังกฤษ          :         Master of Public Administration (Public Administration)                     :         M.P.A. (Public Administration) 

3.  วิชาเอก      :         ไม่มี 

4.  จำนวนหน่วยกิตตามแผนการศึกษาตลอดหลักสูตร 4.1 แผน ก แบบ ก 2     ไม่น้อยกว่า       36       หน่วยกิต 4.2 แผน ข                           ไม่น้อยกว่า       36       หน่วยกิต 

5.  รูปแบบของหลักสูตร     
5.1  รูปแบบ þ  หลักสูตรปริญญาโท o  อื่น ๆ ระบุ      
5.2  ภาษาที่ใช้ þ  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย o  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา) .................... o  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ระบุภาษา) ....................     
 5.3  การรับเข้าศึกษา þ  รับเฉพาะนักศึกษาไทย o  รับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ o  รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ      
5.4  ความร่วมมือกับสถาบันอื่น þ  เป็นหลักสูตรของมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะ o  เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น Þ  ชื่อสถาบัน…………………………………………………………………………….. Þ  รูปแบบของความร่วมมือสนับสนุน…………………………………………… o  เป็นหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่น Þ  ชื่อสถาบัน……………………ประเทศ.........…………………………….. Þ  รูปแบบของการร่วม           o  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯ เป็นผู้ให้ปริญญา                     o  ร่วมมือกัน โดยสถาบันฯ อื่น เป็นผู้ให้ปริญญา           o  ร่วมมือกัน โดยผู้ศึกษาอาจได้รับปริญญาจาก 2 สถาบันหรือมากกว่า      
5.5  การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา            กรณีหลักสูตรเฉพาะของสถาบัน þ  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว o  ให้ปริญญามากกว่าหนึ่งสาขาวิชา            กรณีหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่น o  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว และเป็นปริญญาของแต่ละสถาบัน o  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว และเป็นปริญญาร่วมกับ.............................................. o  ให้ปริญญามากกว่าหนึ่งสาขาวิชา 

6.  สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
          þ  หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2561 ปรับปรุงจากหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556)           þได้ผ่านการกลั่นกรองหลักสูตรโดยคณะกรรมการการบริหารคณะรัฐประศาสนศาสตร์ ในการประชุมครั้งที่ 4 ปีการศึกษา 2560 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2560           þ  ได้รับการวิพากษ์หลักสูตรโดยคณะกรรมการที่มีผู้ทรงวุฒิตรงสาขาวิชาจากภายนอกในการประชุม เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ.2560           þ  ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาประจำมหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2560 เมื่อวันที่ 11ตุลาคม พ.ศ.2560           þ  ได้รับอนุมัติหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561 จากสภามหาวิทยาลัยพิษณุโลก ในการประชุมครั้งที่ 4ปีการศึกษา  2560 เมื่อวันที่ 15กุมภาพันธ์พ.ศ.2561           þ  เปิดสอนภาคการศึกษา 1 ปีการศึกษา 2561 

7.  ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน      หลักสูตรได้รับการเผยแพร่เป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ.2558 ในปีการศึกษา 2563 

8.  อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา      
 8.1  อาจารย์ผู้สอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์      
 8.2  วิชาชีพที่ใช้ความรู้รัฐประศาสนศาสตร์ในการพัฒนางาน เช่น ข้าราชการตำรวจ ทหาร เป็นต้น      
 8.3  นักการเมืองท้องถิ่นและส่วนราชการ       
8.4  เจ้าหน้าที่ปกครองส่วนท้องถิ่น 

10.  สถานที่จัดการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยพิษณุโลก เลขที่ 93 หมู่ 5 ตำบลสมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 

11.  สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร      
11.1  สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ               การวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรได้ดำเนินการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) ซึ่งกล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์ ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี รวมทั้งการขยายตัวของประชาคมอาเซียน ส่งผลต่อรูปแบบการดำเนินชีวิตในสังคมของประชาชาติ จึงจำเป็นต้องมีนักปกครองที่มีประสิทธิภาพมีนักกฎหมายที่มีศักยภาพและคุณภาพที่จะให้การช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุนให้เศรษฐกิจการเมืองการปกครอง และประเทศชาติบ้านเมืองเป็นพลวัต มีการขับเคลื่อนสู่ความเป็นสากลเป็นที่ยอมรับของอาณาประเทศ จึงจำเป็นต้องจัดหาหลักสูตรการศึกษาให้สอดรับกับความต้องการบุคลากรของประเทศและทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างของสังคม การเมือง และการปกครอง 11.2  สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม                การวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมในยุคโลกาภิวัฒน์และความต้องการของตลาดแรงงานเป็นสำคัญ รวมทั้งการคำนึงถึงขีดความสามารถในการบริหารจัดการระบบการศึกษาของไทยที่มีนโยบายด้านการมีส่วนร่วมต่อสังคมและวัฒนธรรมในรูปแบบของการรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเภทก็ได้มีการให้ความสำคัญและในประเทศไทยก็มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องต่อความต้องการใช้งานบุคลากรที่มีความรู้สมัยใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งจะนำไปสู่สังคมที่มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทำให้เกิดความเข้มแข็งและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ทั้งนี้จำเป็นจะต้องใช้นักการปกครองที่ดี สามารถตระหนักรับรู้ถึงความรับผิดชอบต่อสังคม และการสร้างวัฒนธรรมองค์การที่มีคุณธรรมจริยธรรมที่จะช่วยชี้นำและขับเคลื่อนให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปในรูปแบบที่สอดคล้องและเหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย ทั้งในด้าน วิถีชีวิตทางการศึกษาและวิถีความคิดแบบสังคมไทยที่สามารถอยู่ร่วมกับนานาอารยประเทศได้ 

12.  ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 
12.1  การพัฒนาหลักสูตร               เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และมีการรวมกลุ่มประเทศ
เพื่อการสร้างประชาคมความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง ทั้งในระดับภูมิภาค ทวีป และโลก จึงมีความสำคัญและจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัยเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและตอบสนองความต้องการศึกษาของคนภายในประเทศและประชาคมต่างประเทศตามช่วงเวลาที่เหมาะสม    
12.2  ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน               มหาวิทยาลัยพิษณุโลกมีพันธกิจที่สำคัญคือการผลิตบัณฑิต และพัฒนาบุคลากรในท้องถิ่น
ให้มีความรู้และสมรรถนะตามวัตถุประสงค์ความต้องการของสังคมและผู้ใช้บัณฑิต โดยเฉพาะบัณฑิตและบุคลากรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ที่จะนำความรู้ความสามารถของสาขาวิชาไปใช้ในการบริหารจัดการชุมชนท้องถิ่นและองค์กรต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดความเข้มแข็งเติบโตอย่างยั่งยืน 

13.  ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน         
(1)  ทุกรายวิชาในหลักสูตรหมวดวิชาเฉพาะรัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีคณะ/ภาควิชาอื่นนำไปกไหนดในหลักสูตรของคณะ/ภาควิชา         
(2)  มีบางรายวิชาจากคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ และจากคณะบัญชี ที่หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตนำมาเป็นวิชาเลือก         
(3)  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตจำเป็นต้องใช้อาจารย์จากหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต และหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรมาเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ (IS)

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 
1.  ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร     
1.1  ปรัชญาของหลักสูตร             หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มีความมุ่งมั่นที่จะผลิตมหาบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศ
ในด้านความเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวิสัยทัศน์ มีความเป็นผู้นำ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ และนวัตกรรมใหม่ ๆ ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์เพื่อสร้างความมั่นคงของชุมชนท้องถิ่นให้มีความทัดเทียมและสอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าในยุคโลกาภิวัตน์ และเป็นไปตามความต้องการของภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ      
1.2  ความสำคัญของหลักสูตร            สถานการณ์การเมืองการปกครองในระดับท้องถิ่นยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจและ
มีสมรรถนะทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์ในเชิงปริมาณและคุณภาพเป็นอย่างมาก จึงเป็นหน้าที่ของมหาวิทยาลัยที่จะพัฒนาหลักสูตรนี้ เพื่อการพัฒนาบุคลากรในท้องถิ่นให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพในระดับประเทศและสากล      
1.3  วัตถุประสงค์ของหลักสูตร            เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ 
(1)  มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม และสามารถปรับวิถีชีวิตภายใต้ความขัดแย้งทางค่านิยม ตลอดจนพัฒนานิสัยในการประพฤติปฏิบัติในสังคมได้อย่างเหมาะสม 
(2)  มีความรู้และทักษะทางรัฐประศาสนศาสตร์ รวมทั้งมีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร์ 
(3)มีความสามารถในการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาแนวคิดแนวปฏิบัติที่ดีในการนำไปปฏิบัติ รวมทั้งใช้กระบวนการทางรัฐประศาสนศาสตร์ เรียนรู้ปัญหาและแก้ปัญหาที่มีความเป็นพลวัตรและมีความซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนสามารถสร้างนวัตกรรมบนพื้นฐานแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้ 
(4)  มีความสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่มีความหลากหลาย รับฟังความคิดเห็นและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ มีภาวะผู้นำทางวิชาการและสามารถวิพากษ์บนฐานแนวคิด และทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์           
(5) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีการสืบค้นข้อมูล และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถใช้เครื่องมือทางสถิติแก้ปัญหาทางการวิจัยได้ถูกต้อง และประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ ปรากฏการณ์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม